การเตรียมข้อมูลเบื้องต้น

ขั้นตอนที่ 1 ทำการกำหนดผังบัญชี ในส่วนของหนี้สิน เพิ่มขึ้นมาใหม่ ที่ เมนูบัญชี ข้อ 2. ผังบัญชี

 

บัญชี

หมวด

เลขที่บัญชี

อาคาร

ทรัพย์สิน

1410-02

เจ้าหนี้เงินจอง

หนี้สิน

2120-03

เจ้าหนี้เงินทำสัญญา

หนี้สิน

2120-04

เจ้าหนี้เงินดาวน์

หนี้สิน

2120-05

 

 

rpro01

รูปที่ 1

 

rpro02

รูปที่ 2

 

rpro03

รูปที่ 3

 

ขั้นตอนที่ 2 กำหนดกลุ่มบัญชีสินค้า เพื่อให้ทำการบันทึก อาคาร ที่ เมนูเริ่มระบบ ข้อ1. กำหนดค่าเริ่มต้นต่างๆ ข้อ 3.

ระบบสินค้าคงเหลือ ข้อ 2. กำหนดกลุ่มบัญชีสินค้า

rpro04

รูปที่ 4

 

ขั้นตอนที่ 3 กำหนด รหัสสินค้าที่มีสต๊อค เพื่อให้สามารถดูยอดคงเหลือหรือรายงานสินค้าได้ด้วย ที่ เมนูสินค้า ข้อ 2. รายละเอียดสินค้า

rpro05

รูปที่ 5

 

ขั้นตอนที่ 4 กำหนด รหัสสินค้าบริการ โดยกำหนดเลขที่บัญชี เจ้าหนี้เงินจอง , เจ้าหนี้เงินทำสัญญา และ เจ้าหนี้เงินดาวน์

ที่ เมนูสินค้า ข้อ 4. สินค้าบริการ

 

rpro06

รูปที่ 6

 

rpro07

รูปที่ 7

 

rpro08

รูปที่ 8

 

ขั้นตอนที่ 5 ทำการกำหนดเอกสารรับเงินมัดจำ ออกเป็น

· (AI) รับเงินมัดจำ-เงินจอง และต้องการกำหนดเลขที่บัญชี เจ้าหนี้เงินจอง ไว้ที่ เมนูเริ่มระบบ ข้อ 4. กำหนดเลขที่เอกสาร

 

rpro09

รูปที่ 9

 

rpro10

รูปที่ 10

 

·(AO) รับเงินมัดจำ-เงินทำสัญญา และต้องการกำหนดเลขที่บัญชี เจ้าหนี้เงินทำสัญญา  ไว้ที่ เมนูเริ่มระบบ ข้อ 4. กำหนดเลขที่เอกสาร

 

rpro11

รูปที่ 11

 

rpro12

รูปที่ 12

 

ขั้นตอนที่ 6 กำหนดวิธีรับชำระหนี้ ขึ้นมาใหม่  ที่ เมนูเริ่มระบบ ข้อ 4. กำหนดเลขที่เอกสาร

 

rpro13

ขั้นตอนที่ 7 กำหนดรายละเอียดลูกค้า ที่ เมนูขาย ข้อ 6. รายละเอียดลูกค้า

 

rpro13-ar

 

ขั้นตอนในการทำงาน

  เมื่อลูกค้ามาดูโครงการและต้องการจะซื้อบ้าน ทางบริษัทจะทำการขายบ้าน โดยราคาบ้าน 3,000,000.- บาท จะทำการหักค่าจอง 10,000.- หัก ค่าทำสัญญา 40,000.-ส่วนเงินดาวน์ ทางบริษัทได้ให้ลูกค้าผ่อนเงินดาวน์เป็นงวด ๆ ได้โดยใช้เวลา 10 งวด เป็นจำนวน 50,000.-  หลังจากนั้นลูกค้าจะทำการกู้แบงค์ เพื่อทำการโอนบ้านในภายหลัง งวดสุดท้ายที่โอนต้องจ่าย 2,900,000.-

1.เมื่อลูกค้าตกลงทำสัญญาซื้อบ้าน กับทางบริษัท ทางบริษัทจะได้รับเงินจอง และเงินทำสัญญา โดยบันทึกที่ เมนูขาย ข้อ 1. รับเงินมัดจำ/รับเงินมัดจำ-เงินจอง

 

 rpro14

 

 rpro15

โดยโปรแกรมจะบันทึกบัญชีแบบ Perpetual และ แบบ Periodic เหมือนกัน

 

rpro16

 

และเปิดบิลรับเงินทำสัญญา บันทึกที่ เมนูขาย ข้อ 1. รับเงินมัดจำ / รับเงินมัดจำ-เงินทำสัญญา

 

rpro17

 

โดยโปรแกรมจะบันทึกบัญชีแบบ Perpetual และ แบบ Periodic เหมือนกัน

 

rpro18

2.จากนั้นทางบริษัท จะให้ลูกค้าทำการผ่อนเงินดาวน์ เป็นงวด ๆ ประมาณ 10งวด โดยจะถือว่าเงินที่ได้ยังไม่ใช่รายได้ บันทึกที่ เมนูขาย ข้อ 4. ขายเงินเชื่อ

 

  rpro19

 

  โดยโปรแกรมจะบันทึกบัญชีแบบ Perpetual และ แบบ Periodic เหมือนกัน
   

rpro20

 

 

3. เมื่อรับเงินดาวน์จากลูกค้าจะบันทึกที่ เมนูการเงิน ข้อ 1. รับเงิน ข้อ 5. รับชำระหนี้ ซึ่งงวด เงินดาวน์ทั้ง 10 งวดจะบันทึกการรับเงินในเมนูนี้ สังเกตว่าโปรแกรมจะเก็บยอดคงค้างให้จนกว่าจะครบ 10 งวด

 

rpro21

 

โดยโปรแกรมจะบันทึกบัญชีแบบ Perpetual และ แบบ Periodic เหมือนกัน

 

rpro22

 

4. เมื่อทางบริษัทได้รับเงินดาวน์ ครบทั้ง 10 งวด ก็จะทำการเปิดบิลขายบ้านโดยจะมีการตัดสต๊อคบ้าน

และจะถือว่าเงินจอง ,เงินทำสัญญา และเงินดาวน์  เป็นการรับรู้รายได้จริง  บันทึกที่ เมนูขาย 4. ขายเงินเชื่อ

 

rpro23

 

โดยโปรแกรมจะบันทึกบัญชีแบบ Perpetual

 

rpro24

 

โดยโปรแกรมจะบันทึกบัญชีแบบ Periodic

 

rpro24-2

 

จากนั้นต้องทำการล้างยอดเอกสาร AI และ AO เพราะบิลขายไม่ระบุเลขที่ของเอกสาร AI  เอกสารดังกล่าวยอดยังไม่ถูกล้างออก โดยเข้าไปในเมนูขาย ข้อ1.รับเงินมัดจำ /AI และ AO โดยไปที่หน้า 2  แล้วกดแก้ไขยอดที่ตัดไปแล้ว ให้เป็นยอดเดียวกันกับยอดคงค้าง สังเกตว่าตัดมัดจำเรียบร้อย จะเป็น Y

 

rpro-ai

 

rpro-ao

 

5. เมื่อลูกค้านัดโอนบ้าน ทางบริษัทก็จะได้รับเงินค่าบ้านที่เหลืออยู่ บันทึกที่ เมนูการเงิน ข้อ 1. รับเงิน ข้อ 5. รับชำระหนี้

 

rpro25

 

โดยโปรแกรมจะบันทึกบัญชีแบบ Perpetual และ แบบ Periodic เหมือนกัน

 

rpro26

 

จากขั้นตอนการทำ เราสามารถดูรายงานต่างได้

· ต้องการดูรายงานเกี่ยวกับเงินดาวน์  โดยดูจาก รายงานข้อ 1. ลูกหนี้  / 1H. ตรวจสอบข้อมูลระบบขาย คอลัมน์ลูกหนี้ ก็คือเงินดาวน์ที่ค้างชำระ

 

rpro27

 

· ต้องการดูรายงานยอดขายสำหรับการขายบ้าน โดยดูจาก รายงานข้อ 7. วิเคราะห์การขาย 1.2 แยกตามสินค้า

 

rpro28