เตรียมข้อมูลเบื้องต้น

ขั้นตอนที่ 1    การเตรียมชื่อผู้รับเหมาแต่ละราย  กำหนดที่ เมนูเริ่มระบบ ข้อ 7 กำหนดแผนก

        กำหนดรหัสแผนก  ชื่อผู้รับเหมา/ประเภทงาน เช่น SS01     (SS เป็นประเภทงาน  /01 ชื่อผู้รับเหมา )

 

bd01_zoom80

รูปที่ 1

 

ขั้นตอนที่ 2 การเตรียมผังบัญชี  กำหนดที่ เมนูบัญชี ข้อ 2  ผังบัญชี จะต้องสร้างผังบัญชีที่จะใช้เกี่ยวกับ

โครงการโดยให้กำหนดตรงบรรทัด"แยกแผนก"  เป็น Y เช่น

 

บัญชี

หมวด

เลขที่บัญชี

บัญชีเงินจ่ายล่วงหน้า-ค่าจ้างเหมา

สินทรัพย์

1151-05

บัญชีเจ้าหนี้-ผู้รับเหมา

หนี้สิน

2120-03

บัญชีประกันผลงานรอตัดบัญชี

หนี้สิน

2131-10  

บัญชีค่าวัสดุ-อุปกรณ์ก่อสร้าง

ค่าใช้จ่าย

5110-01

บัญชีค่าจ้างเหมา

ค่าใช้จ่าย

5110-02

 

ขั้นตอนที่ 3 กำหนดคลังสินค้า  ที่ เมนูเริ่มระบบ ข้อ 2 ตารางข้อมูล/21 คลังสินค้า

 

bd02_zoom80

รูปที่ 2

 

ขั้นตอนที่ 4   เตรียมข้อมูลเจ้าหนี้  ที่ เมนูซื้อ ข้อ 6 รายละเอียดผู้จำหน่าย        

 

bd03_zoom80

รูปที่ 3 เจ้าหนี้การค้า

 

ประเภทผู้จำหน่ายเป็น เจ้าหนี้ซื้อวัสดุ / เลขที่บัญชี เป็นเจ้าหนี้การค้า

 

bd04_zoom80

 

bd04-02

รูปที่ 4  เจ้าหนี้ผู้รับเหมา

 

ประเภทผู้จำหน่ายเป็น เจ้าหนี้-ผู้รับเหมา / เลขที่บัญชี เป็นเจ้าหนี้ผู้รับเหมา

 

bd05

รูปที่ 4-1 เงินประกันผลงาน

 

ประเภทผู้จำหน่ายเป็น ประกันผลงาน / เลขที่บัญชี เป็นเงินประกันผลงานรอตัดบัญชี

ขั้นตอนที่ 5 เตรียมข้อมูลลูกหนี้ ที่ เมนูขาย ข้อ 6 รายละเอียดลูกค้า

 

bd06

 

ขั้นตอนที่ 6  เตรียมข้อมูลวัสดุก่อสร้าง  ที่ เมนูสินค้า ข้อ 2 รายละเอียดสินค้า

 

bd07

 

bd07-02

รูปที่ 6 ผูกกลุ่มบัญชีสินค้าเป็นวัสดุก่อสร้าง

 

bd08

รูปที่ 7 กำหนดที่เริ่มระบบ 132 กลุ่มบัญชีสินค้า-วัสดุก่อสร้าง

 

ขั้นตอนที่ 7  เตรียมข้อมูลสินค้าบริการ  เมนูสินค้า ข้อ 4 รายละเอียดสินค้าบริการ

 

bd09

รูปที่ 8

 

ขั้นตอนที่ 8 เตรียมข้อมูลค่าใช้จ่ายที่ เมนูซื้อ ข้อ 7  รายละเอียดค่าใช้จ่าย  โดยกำหนดรหัสค่าใช้จ่ายทั้งหมดที่ต้องนำมาใช้ในการบันทึกรายการ

 

bd10

รูปที่ 9

 

bd11

รูปที่ 10

 

ขั้นตอนที่ 9 เพิ่มวิธีการจ่ายชำระหนี้  ที่ เมนูเริ่มระบบ/ ข้อ 1/ข้อ 5/ ข้อ 2 วิธีการจ่ายชำระหนี้

 

bd12

รูปที่ 11-1

 

ขั้นตอนที่ 10 สร้างเอกสารที่จำเป็นต้องใช้เพิ่มเติม  กำหนดที่ เมนูเริ่มระบบ  ข้อ 4  กำหนดเลขที่เอกสาร เช่นในส่วนของ DN,PO, PS และ RR

 

bd13

 รูปที่ 11

 

ขั้นตอนในการทำงาน

1. กรณีบริษัทก่อสร้างจ้างผู้รับเหมาทำงาน

 1.1 กรณีจ้างผู้รับเหมาเฉพาะค่าแรง

       บริษัทจะทำการซื้อวัสดุก่อสร้างเองที่ คลัง 01   และเบิกวัสดุก่อสร้างให้ผู้รับเหมาออกจาก คลัง 01 ที่เบิกใช้ภายใน

    1.1.1  บันทึกการจ้างเหมา  ที่ ซื้อเงินเชื่อ/ใบรับสินค้า (RI) (ใส่แผนก,รหัสผู้จำหน่าย=ผู้รับเหมา /เลือกสินค้าบริการ-ค่าจ้างเหมา/ ประเภทราคา=0)

bd14

รูปที่ 12

 

bd15

รูปที่ 13

 

bd16

รูปที่ 14

 

1.1.2 บันทึกการจ่ายเงินให้ผู้จ้างเหมา  ที่ เมนูการเงิน / ข้อ 2 จ่ายเงิน/ ข้อ 4 จ่ายชำระหนี้-ค่าจ้างเหมา (PP)

 

bd17

รูปที่ 15

 

(ใส่แผนก,รหัสผู้จำหน่าย=ผู้รับเหมา  /เลือกชำระโดยอื่น ๆ เป็น เงินสดหรือเช็คจ่าย)

 

bd18

รูปที่ 16

 

bd19

รูปที่ 17

 

1.2 กรณีจ้างผู้รับเหมาทั้งค่าวัสดุและค่าแรง    

1.2.1  บันทึกข้อตกลงว่าจ้างระหว่างบริษัทกับผู้รับเหมา ที่ เมนูซื้อข้อ 3  ใบสั่งซื้อบริษัท (PO) (ใส่แผนก,รหัสผู้จำหน่าย=ผู้รับเหมา  / อ้างรายละเอียดสินค้าบริการ- ค่าจ้างเหมา / ประเภทราคา=0)

 

bd20

รูปที่  18

 

1.2.2 บันทึกการสั่งซื้อสินค้าแทนผู้รับเหมา /ใบสั่งซื้อ PE  (ใส่แผนก=ผู้รับเหมา /สินค้าเข้าคลัง 02 (คลังเหมา))

 

bd21

รูปที่ 19

 

1.2.3  บันทึกการรับสินค้าแทนผู้รับเหมา  /ใบรับสินค้า RW  (ใส่แผนก=ผู้รับเหมา  / อ้างเลขที่ใบสั่งซื้อ PE)

 

bd22

รูปที่ 20

 

bd23

รูปที่ 21

 

บันทึกการตัดสินค้าในคลังผู้รับเหมา 02  ออก (ใส่แผนก=ผู้รับเหมา  / ใส่คลัง=02) /ที่ สินค้าประจำวัน/ 1.จ่ายสินค้าภายใน /จ่ายวัสดุให้ช่าง PD

 

bd24

รูปที่ 20-1

***สมุดรายวันจะไม่มีการบันทึกบัญชี***

1.2.4  บันทึกการตั้งเจ้าหนี้ผู้รับเหมา ที่ เมนูซื้อ /ข้อ 4 (RI) (ใส่แผนก=ผู้รับเหมา/ อ้างใบสั่งซื้อ PO/ ประเภทราคา=0 )

 

bd25

รูปที่ 22

 

bd26

 

รูปที่ 23

 

1.2.5 บันทึกตั้งเจ้าหนี้เงินประกันผลงาน ตามข้อตกลง เช่น 10% ของยอดการจ่ายในแต่ละงวด และบันทึกทันทีที่มีการบันทึกตั้งเจ้าหนี้ค่าจ้างเหมา   คีย์ที่ เมนูซื้อ/ข้อ 4 เงินประกันผลงาน (RZ)  (ใส่แผนก=ผู้รับเหมา /  ประเภทราคา=0 / เลือกรหัสสินค้าค่าใช้จ่ายอื่นๆ)

 

bd27

 

***สมุดรายวันจะไม่มีการบันทึกบัญชี***

1.2.6  ผู้รับเหมาขอเบิกเงินจ่ายล่วงหน้า    ที่ เมนูซื้อ/ข้อ 5 บันทึกค่าใช้จ่ายอื่น ๆ OE (ใส่แผนก=ผู้รับเหมา /  เลือกรายละเอียดค่าใช้จ่ายอื่น ๆ -เงินจ่ายล่วงหน้า-ค่าจ้างเหมา/ ประเภทราคา=0)

 

bd28

รูปที่ 25

 

bd29

รูปที่ 26

 

1.2.7 บันทึกจ่ายชำระหนี้ร้านค้า / ที่ เมนูการเงิน ข้อ 2 จ่ายเงิน/ ข้อ 4 จ่ายชำระหนี้ PS (ใส่แผนก=ผู้รับเหมา / ชำระหนี้โดยอื่น ๆ  เลือก เลขที่เช็ค)

 

bd30

รูปที่ 27

 

bd31

รูปที่ 28

 

1.2.8 บันทึกจ่ายชำระหนี้ผู้รับเหมา ที่ เมนูการเงิน ข้อ 2 จ่ายเงิน/ ข้อ 4 จ่ายชำระหนี้-ค่าจ้างเหมา (PP)

ในส่วนชำระโดยอื่น ๆ เลือก  กรณี

1   บริษัทหักค่าซื้อวัสดุ     (ชำระโดยอื่น ๆ ให้เลือกซื้อวัสดุก่อสร้าง)

2   บริษัทหักเงินเบิกล่วงหน้า (ชำระโดยอื่น ๆ เลือกเงินจ่ายล่วงหน้า-ค่าจ้างเหมา)

3   บริษัทหักเงินประกันผลงาน  (ชำระโดยอื่น ๆ เลือกเงินประกันผลงาน)

 

bd33

รูปที่ 29

 

bd34

รูปที่ 30

รายงานวิเคราะห์การซื้อ 811 - ค่าใช้จ่ายแยกตามผู้รับเหมา

 

bd32

 

1.2.9  กรณีผู้รับเหมาคืนงาน  ทำที่ เมนูการเงิน/จ่ายเงิน/ข้อ 3 ลดหนี้จ้างเหมา (GI)     (ใส่แผนก=ผู้รับเหมา /  อ้างเลขที่ใบรับ (RI)/ ประเภทราคา=0 / ประเภทของใบลดหนี้= เก็บไว้หักตอนจ่ายชำระหนี้)

 

bd35

รูปที่ 31

 

bd36

รูปที่ 32

 

1.2.9.1  นำใบลดหนี้ (GI) ไปหักล้างค่าจ้างเหมา (RI) ที่ เมนูการเงิน/จ่ายเงิน/จ่ายชำระหนี้-ค่าจ้างเหมา (PP)

 

bd37

รูปที่ 33

***สมุดรายวันจะไม่มีการบันทึกบัญชี***

 

1.2.9.2  นำเงินประกันผลงานที่หักจากผู้รับเหมา (RZ) มาเลือกในคืนเงินประกันผลงาน (PY) ที่ เมนูการเงิน /จ่ายเงิน/คืนเงินประกันผลงาน   (ใส่แผนก=ผู้รับเหมา /ชำระโดยอื่น ๆ ให้เลือกเป็นค่าจ้างเหมา)

 

bd38

รูปที่ 34

 

bd39

รูปที่ 35

 

1.2.9.3  กรณีคืนเงินประกัน  ตอนผู้รับเหมาทำงานเสร็จสมบูรณ์ ตั้งเงินประกันผลงานที่

เมนูซื้อ (RZ) ก่อน ดังรูปที่ 24 แล้วนำมาหักที่เมนูการเงิน/จ่ายเงิน/ข้อ 4 คืนเงินประกันผลงาน (PY)(ใส่แผนก=ผู้รับเหมา /ชำระโดยอื่น ๆ ให้เลือกเป็นเช็คจ่าย)

 

bd40

รูปที่ 36

 

bd41

รูปที่ 37

รายงาน 236  ใช้ตรวจสอบใบสั่งซื้อ-ค่าจ้างเหมา คงค้าง ของแต่ละผู้รับเหมา

รายงาน 42c ใช้ตรวจสอบคลังผู้รับเหมา 02 มียอดคงค้างหรือไม่  (สินค้าต้องมียอดเป็น 0)

รายงานสรุปยอดคชจ.ของแต่ละผู้รับเหมา  สามารถแก้งบการเงินโดยดูแยกแต่ละแผนก

 

bd42